วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

การแลกเปลี่ยนร่วมมือระหว่างกัน


     
1.ไทยกับฝรั่งเศส ไทยกับฝรั่งเศสเริ่มมีความสัมพันธ์ระหว่างกันตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยของสมเด็จพระ-นารายณ์มหาราช และพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ซึ่งได้ส่งราชทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับสยามเมื่อปี ๒๒๒๘ ต่อมา ราชทูตสยาม (โกษาปาน)...อ่านต่อ
        

           

2.ไทยกับเยอรมนี เป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเยอรมนี และประเทศไทย ที่เริ่มต้นอย่างเป็นทางการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเยือนยุโรปใน พ.ศ. 2440 และ พ.ศ. 2450...อ่านต่อ

    
3.ไทยกับสวิตเซอร์แลนด์ การทูต ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสมาพันธรัฐสวิสได้เริ่มพัฒนาขึ้นตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสสมาพันธรัฐสวิส ในปี ๒๔๔๐ และปี ๒๔๕๐ โดย...อ่านต่อ

การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

     การประสานประโยชน์หรือความร่วมมือระหว่างประเทศนั้น นอกจากเป็นหนทางในการสร้างสันติภาพแล้วยังเป็นการประสานผลประโยชน์ร่วมกันทั้งทางด้านการค้า การทหาร ตลอดจนวัฒนธรรม จึงทำให้ประเทศ ต่างๆ เห็นความสำคัญในการจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศเพื่อประสานผลประโยชน์ในด้านต่างๆ ของตน...อ่านต่อ


องค์กรระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน

คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ (Un commission for human rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ 
ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด  47 ประเทศ... อ่านต่อ



สิทธิมนุษยชน

       สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ สิทธิเหล่านี้ "เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคคล มีสิทธิในตัวเองเพียงเพราะเธอหรือเขาเป็นมนุษย์"...อ่านต่อ


กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนเเละประเทศ

        กฎหมาย คือข้อบังคับ กติกาของรัฐหรือของชาติ กำหนดขึ้นมาเพื่อใช้บังคับ ควบคุม ความประพฤติของบุคคลในสังคม ให้ปฏิบัติตาม หากมีการฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามจะมีความผิดและได้รับโทษตามที่กำหนดไว้...อ่านต่อ


กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองเเละครอบครัว

           กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง  ครอบครัว  ชุมชน  ประเทศชาติและสังคมโลกสาระการเรียนรู้ 1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย , 2. กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว , 3. กำหมายแพ่งที่เกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา , 4. กฎหมายอาญา , 5.โมฆกรรมและโมฆียกรรม , 6.กฎหมายอื่นที่สำคัญ....อ่านต่อ

  
 
                                         
                                         

การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

     เป็นการควบคุมการใช้อำนาจของผู้แทนของประชาชนในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองแทนประชาชน หากปรากฏว่า ผู้แทนของประชาชนใช้อำนาจในฐานะ “ตัวแทน” มิใช่เป็นไปเพื่อหลักการที่ถูกต้อง หรือเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวมที่แท้จริง ในทางตรงกันข้าม กลับเป็นการใช้อำนาจโดยมิชอบโดยทุจริต...อ่านต่อ